รางวัล ASEAN Coal Awards

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2021 (2564)

  • รางวัลชนะเลิศ – ด้าน Corporate Social Responsibility (CSR) : “Green Corporate Social Responsibility Organization, Mae Moh Mine”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 – ด้าน Special Submission : “ แบบจำลองยีออยล์ Geoid Model MAEMOH2019 (Vertical Coordinate System Enhancement to Encourage Mae Moh Mine’s Activity”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 – ด้าน Best Practice ประเภท Coal Mining – การทำเหมืองแบบเปิด (Surface Coal Mining) : “การขับเคลื่อนสู่ความยั่งยืน Transformations to Sustainability, Mae Moh Mine”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 – ด้าน Best Practice ประเภท เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Use) – Coal Fired Power Plant Large Scale (มากกว่า 500 MW) : “นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดล้อม The Environmental Innovation for the Better Life (EGAT for All), Mae Moh Power Plant”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 : ด้าน Special Submission : “การปรับปรุงกระบวนการลำเลียงวัตถุพลอยได้ด้วยสายพาน The Improvement of Ash and Gypsum Belt Conveyor System, Mae Moh Power Plant”

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2019 (2562)

กฟผ. ได้รับรางวัลชนะเลิศรวม 5 รางวัล จากรางวัลทั้งหมดที่มอบในปีนี้ทั้งสิ้น 8 รางวัล ได้แก่

  • รางวัลชนะเลิศ – ด้าน Best Practice ประเภท เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Use) – Coal Fire Power Plant Medium Scale (100-500MW) : “The Boiler Modification of Clean Coal Power Plant for Utilizing Low Rank Coal”
  • รางวัลชนะเลิศ – ด้าน Special Submission : “Dust Killer Box (Dust Reduction Equipment from Boom Type Bucket Wheel Reclaimer)”
  • รางวัลชนะเลิศ – ด้าน Corporate Social Responsibility (CSR) : “Community Participation in Mae Moh”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 – ด้าน Corporate Social Responsibility (CSR) – Integrated Cooperation for Community Sustainable Development : “Evolution of Mae Moh EGAT’s CSR”

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2017 (2560)

  • รางวัลชนะเลิศ – ประเภท Best Practice for Surface Coal Mining Category จากผลงาน *“Mae Moh Lignite Mine” *
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 – ประเภท Corporate Social Responsibility (CSR) Category จากผลงาน “The Community Collaboration for Sustainable Development in Mae Moh District”

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2015 (2558)

  • รางวัลชนะเลิศ – ด้านโรงไฟฟ้าถ่านหินเทคโนโลยีสะอาด หรือ Best Practice of Clean Coal Use and Technology in Power Generation ในหัวข้อ “โรงไฟฟ้าพลังงานถ่านหินสะอาด โรงไฟฟ้าแม่เมาะหน่วยที่ 12 (Eco-Efficient Electricity of the Mae Moh lignite-Fired Power Generating Unit 12”
  • รางวัลชนะเลิศ – ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม หรือ Corporate Social Responsibility ในหัวข้อ “โรงไฟฟ้าแม่เมาะกับความเป็นกัลยาณมิตรสู่ชุมชน (Mae Moh Power Plant’s CSR : The Best Neighborhood of Mae Moh Community)”
  • รางวัลชนะเลิศ – ด้าน Special Submission (พลังงานสร้างสรรค์) ในหัวข้อ “ระบบสูบน้ำแบบอนุกรมต่างระดับอัตโนมัติ (Protection and Control of Floods in Open-Pit Mine by Automatic 3-stage Differential Elevation Series-Flow Pumping System)” โดยเหมืองแม่เมาะ กฟผ.
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 – ด้าน Best Practice of Surface Coal Mining ในหัวข้อ “กิจการทำเหมืองการเปิดหน้าเหมือง และการขนส่งถ่านหิน โดยคำนึงถึงการจัดการสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยืนและมีประสิทธิภาพ” โดย เหมืองแม่เมาะ

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2013 (2556)

  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 – ด้าน Best Practice ประเภท เทคโนโลยีถ่านหินสะอาด (Clean Coal Use) – Coal Fired Power Plant : “โรงไฟฟ้าแม่เมาะ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย)”
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 – ด้าน Best Practice ประเภท Coal Mining – การทำเหมืองแบบเปิด (Surface Coal Mining) : “เหมืองแม่เมาะ (การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย)”

รางวัล ASEAN Coal Awards – 2009 (2552)

  • รางวัลชนะเลิศ – ด้านความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility : CSR) : “Mae Moh Mine , Green Corporate Social Responsibility Organization” โดย กองสิ่งแวดล้อมเหมือง (กสม-ช.) ซึ่งได้สนับสนุนช่วยเหลือพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนให้คนกับป่าอยู่ร่วมกันได้ เพื่อให้เกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน ทั้งด้านการส่งเสริมอาชีพ , ด้านสุขภาพ , ด้านการศึกษา , ด้านสิ่งแวดล้อม , ด้านนวัตกรรม และด้านการฟื้นฟูสภาพเหมือง
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 1 – ด้านนวัตกรรมถ่านหิน (Special Submission) : “Geoid Model MAEMOH 2019” โดย แผนกรังวัดเหมือง (หรม-ช.) กองวางแผนปฏิบัติการ (กวป-ช.) ที่ได้นำเอาเทคโนโลยีการสำรวจรังวัดที่มีความทันสมัย เพื่อให้สอดคล้องและเหมาะสมกับสภาพการทำเหมืองในปัจจุบันและรองรับการทำงานในอนาคตอย่างยั่งยืนและ
  • รางวัลรองชนะเลิศอันดับ 2 – ด้านการทำเหมืองถ่านหินแบบเปิด (Surface Coal Mining) : “Mae Moh Mine : Transformation to Sustainability ” โดย กองวางแผนปฏิบัติการ (กวป-ช.)
Skip to content