กฟผ. ค้นพบค้างคาวหายาก อนุรักษ์นกแก้วโม่ง ในการประชุมวิชาการนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 2566

กฟผ. ค้นพบค้างคาวหายาก อนุรักษ์นกแก้วโม่ง ในการประชุมวิชาการนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 2566           กฟผ. ร่วมนำเสนอผลงานโครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม การค้นพบค้างคาวหายากที่เขื่อนรัชชประภา และการอนุรักษ์นกแก้วโม่งที่บางกรวย พร้อมร่วมบรรยายภารกิจสร้างความมั่นคงด้านพลังงาน ควบคู่การดูแลสังคม สิ่งแวดล้อม ในการประชุมวิชาการนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 2566 International Conference on Biodiversity: IBD2023           นายธวัชชัย สำราญวานิช ผู้ช่วยผู้ว่าการแผนงานโรงไฟฟ้า การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ร่วมบรรยายในการประชุมวิชาการนานาชาติด้านความหลากหลายทางชีวภาพ ปี 2566 International Conference on Biodiversity: IBD2023 เวทีระดับนานาชาติในการแสดงพลังความร่วมมือด้านความหลากหลายทางชีวภาพ และยกระดับความสามารถของนักวิจัยไทย ในการวิจัย การอนุรักษ์และใช้ประโยชน์จากความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อสร้างเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน เมื่อวันที่ 13 ธันวาคม 2566 ณ สวนหลวง ร. ๙ กรุงเทพฯ โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศกว่า 600 คน           นายธวัชชัย สำราญวานิช […]

Rapheephat Toumsaeng

15 December 2023

อบก. – กฟผ. – พันธมิตร เปิดตัวต้นแบบ Premium T-VER ภาคป่าไม้ ตามมาตรฐานสากลแห่งแรกของประเทศไทย

อบก. – กฟผ. – พันธมิตร เปิดตัวต้นแบบ Premium T-VER ภาคป่าไม้ ตามมาตรฐานสากลแห่งแรกของประเทศไทย          อบก. ชูสภาพป่าต้นน้ำ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่งาวฝั่งขวา จ.ลำปาง ภายใต้โครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมของ กฟผ. เป็นต้นแบบ Premium T-VER ภาคป่าไม้ ตามมาตรฐานคาร์บอนเครดิตภาคป่าไม้ระดับสากลแห่งแรกของประเทศไทย ให้ความสำคัญกับความยั่งยืนและการอยู่ร่วมกันระหว่างคนกับป่า มุ่งยกระดับคุณภาพชีวิต ปลูกจิตสำนึกรักษ์ป่าไม้          วันนี้ (19 กันยายน 2566) องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก (องค์การมหาชน) (อบก.) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กรมป่าไม้ และมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ (มก.) ร่วมจัดงานสัมมนาเผยแพร่แนวทางการพัฒนาโครงการ T-VER มาตรฐานขั้นสูง (Premium T-VER) พร้อมเปิดตัวพื้นที่ฟื้นฟูสภาพป่าต้นน้ำ ป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่งาวฝั่งขวา จ.ลำปาง ภายใต้โครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมของ กฟผ. เป็นต้นแบบ […]

Sukarnya

19 September 2023

กฟผ. และพันธมิตร ดึง Green Wave พาผู้โชคดี คืนผืนป่าให้กับโลกนำร่องปลูกป่าเพิ่มพื้นที่สีเขียวระดับ Premium T-Ver ครั้งแรกในประเทศไทย

กฟผ. และพันธมิตร ดึง Green Wave พาผู้โชคดี คืนผืนป่าให้กับโลกนำร่องปลูกป่าเพิ่มพื้นที่สีเขียวระดับ Premium T-Ver ครั้งแรกในประเทศไทย          จังหวัดลำปาง ร่วมกับ กฟผ. และพันธมิตร ประเดิมปลูกป่านำร่องมาตรฐาน Premium T-Ver แห่งแรกในประเทศไทย ดึงดีเจคู่หู โก – เป้ จากคลื่น Green Wave ชวนปลูกป่าลดคาร์บอน ตามเป้าหมาย 1 ล้านไร่ภายในปี 2574          วันนี้ (10 มิถุนายน 2566) นายชัชวาลย์ ฉายะบุตร ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง พร้อมด้วยนายประเสริฐศักดิ์ เชิงชวโน รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และดีเจคู่หูดูโอ้ โก – ตฤณ เรืองกิจรัตนกุล […]

Sukarnya

10 June 2023

กฟผ. – Green Wave ยกขบวนคนรักษ์โลกนั่งรถไฟไปปลูกป่าที่ จ.ลำปาง

กฟผ. – Green Wave ยกขบวนคนรักษ์โลกนั่งรถไฟไปปลูกป่าที่ จ.ลำปาง          นายประเสริฐศักดิ์ เชิงชวโน รองผู้ว่าการยุทธศาสตร์ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) และผู้บริหาร กฟผ. พร้อมด้วยคู่หูดูโอ้ ดีเจโก ตฤณ เรืองกิจรัตนกุล และดีเจเป้ วิศวะ กิจตันขจร จากคลื่น Green Wave 106.5 นำทีมผู้โชคดี 15 คู่ ในทริปสุดพิเศษ “ยกขบวน ชวนปลูกป่า” ออกเดินทางจากสถานีกลางกรุงเทพอภิวัฒน์มุ่งหน้าสู่ จ.ลำปาง เพื่อร่วมปลูกป่ากับ กฟผ. ภายใต้โครงการปลูกป่าล้านไร่อย่างมีส่วนร่วม ช่วยเพิ่มพื้นที่สีเขียว ลดคาร์บอนใน อ.งาว จ.ลำปาง พร้อมเยี่ยมชมพิพิธภัณฑ์ศูนย์ถ่านหินลิกไนต์ศึกษา (เหมืองแม่เมาะ) แหล่งพลังงานสำคัญของประเทศ สนุกสนานกับสไลเดอร์พื้นหญ้าสุดเฟี้ยวที่สูงและสวยงามแห่งหนึ่งของประเทศ ปิดท้ายด้วยบรรยากาศสุดฟินรอบสวนเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา กฟผ.แม่เมาะ

Sukarnya

9 June 2023

มข. – กฟผ. Kick Off เดินหน้าปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมใน จ.ขอนแก่น

มข. – กฟผ. Kick Off เดินหน้าปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมใน จ.ขอนแก่น          มหาวิทยาลัยขอนแก่น จับมือ กฟผ. ลุยปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมในจังหวัดขอนแก่น นำร่องปลูกต้นกาลพฤกษ์ 160 ต้น รอบพื้นที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น เดินหน้าสู่ต้นแบบพื้นที่ป่าไม้อย่างยั่งยืนในสถานศึกษาอย่างมีส่วนร่วม พร้อมหนุนวิจัยเทคโนโลยีด้านการเกษตรและป่าไม้อย่างมีประสิทธิภาพ สานต่อองค์ความรู้สู่ชุมชน          วันนี้ (12 ตุลาคม 2565) รองศาสตราจารย์ นายแพทย์ชาญชัย พานทองวิริยะกุล อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น ร่วมกับ ดร.จิราพร ศิริคำ รองผู้ว่าการธุรกิจเกี่ยวเนื่อง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) คณะผู้บริหารและนักศึกษาร่วมกิจกรรม Kick Off ปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม ด้วยการปลูกต้นกาลพฤกษ์จำนวน 160 ต้น รอบรั้วมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวและเพิ่มการดูดซับคาร์บอนไดออกไซด์ ณ บริเวณศาลเจ้าพ่อมอดินแดง มหาวิทยาลัยขอนแก่น       […]

Sukarnya

12 October 2022

ปตท. จับมือ กฟผ. เปิดโครงการต้นแบบพัฒนาป่าชุมชนยั่งยืน ในพื้นที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เดินหน้าเพิ่มพื้นที่สีเขียว มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ

ปตท. จับมือ กฟผ. เปิดโครงการต้นแบบพัฒนาป่าชุมชนยั่งยืน ในพื้นที่อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น เดินหน้าเพิ่มพื้นที่สีเขียว มุ่งสู่สังคมคาร์บอนต่ำ          นายวุฒิกร สติฐิต รองกรรมการผู้จัดการใหญ่หน่วยธุรกิจก๊าซธรรมชาติ บริษัท ปตท. จำกัด (มหาชน) (ปตท.) (กลาง) และ นางราณี โฆษิตวานิช รองผู้ว่าการเชื้อเพลิง การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) (ที่ 2 จากซ้าย) ร่วมเป็นประธานในพิธีเปิดโครงการต้นแบบพัฒนาป่าชุมชนอย่างยั่งยืน ปตท. – กฟผ. โดยกิจกรรมครั้งนี้มีผู้บริหาร ปตท. กฟผ. หัวหน้าหน่วยราชการ ผู้นำชุมชน และชุมชน ร่วมกันปลูกต้นไม้พื้นถิ่น จำนวน 2,000 ต้น บนพื้นที่ 15 ไร่ ณ โรงเรียนบ้านห้วยเสือเต้น อำเภอน้ำพอง จังหวัดขอนแก่น พร้อมทั้งมอบพันธุ์ไม้กินได้ จำนวน 1,000 ต้น […]

Sukarnya

2 July 2022

กฟผ. จับมือ 4 มหาวิทยาลัย และ สอศ. ลุยปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม ฟื้นฟูระบบนิเวศ 4 ภาค พร้อมยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนด้วยเทคโนโลยี

กฟผ. จับมือ 4 มหาวิทยาลัย และ สอศ. ลุยปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม ฟื้นฟูระบบนิเวศ 4 ภาค พร้อมยกระดับคุณภาพชีวิตชุมชนด้วยเทคโนโลยี          กฟผ. เดินหน้าโครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วมต่อเนื่อง ล่าสุดจับมือ 4 มหาวิทยาลัย และ สอศ. ส่งเสริมและฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของระบบนิเวศ 4 ภาคทั่วประเทศ พร้อมหนุนการวิจัยเพิ่มศักยภาพการดูดซับคาร์บอน ยกระดับคุณภาพชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมของชุมชนผ่านเทคโนโลยีด้านการเกษตรและป่าไม้ มุ่งผลักดันนโยบาย Carbon Neutrality ของประเทศให้สำเร็จ          วันนี้ (22 มิถุนายน 2565) การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) กับ 4 มหาวิทยาลัย และสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ร่วมลงนามความร่วมมือโครงการปลูกป่าอย่างมีส่วนร่วม โดย นายบุญญนิตย์ วงศ์รักมิตร ผู้ว่าการ กฟผ. ดร.สุเทพ […]

Sukarnya

22 June 2022

“ปลูกป่าในใจคน” หัวใจของการฟื้นป่าที่หยั่งรากลึกทั่วอ่าวทุ่งคา-สวี ป่าชายเลนผืนใหญ่ของไทย

“ปลูกป่าในใจคน” หัวใจของการฟื้นป่าที่หยั่งรากลึกทั่วอ่าวทุ่งคา-สวี ป่าชายเลนผืนใหญ่ของไทย           มรสุมที่โหมกระหน่ำเหนืออ่าวทุ่งคา จังหวัดชุมพร ทำให้เกลียวคลื่นซัดเข้าหาชายฝั่งอย่างบ้าคลั่ง ก่อนที่จะค่อย ๆ สลายหายไปกับแนวต้นโกงกาง หลงเหลือไว้เพียงความชุ่มชื้นที่ถูกโอบอุ้มไว้ด้วยป่าชายเลนผืนใหญ่แห่งนี้                     ปัจจุบันป่าชายเลนอ่าวทุ่งคา-สวี นับเป็นป่าชายเลนที่สมบูรณ์ที่สุดแห่งหนึ่งของภาคใต้ฝั่งอ่าวไทยและได้รับการขึ้นทะเบียนเป็นพื้นที่ชุ่มน้ำนานาชาติ แต่ไม่น่าเชื่อว่าพื้นที่บริเวณนี้ในอดีตเคยเป็นพื้นที่นากุ้งเสื่อมโทรมที่ต้องใช้เวลาพลิกฟื้นมากกว่า 20 ปี ผืนป่าเขียวขจีด้วยฝีมือมนุษย์           “บริเวณนี้ก่อนจะมีอุทยาน เดิมเป็นบ่อปลา บ่อกุ้ง ต้นไม้อะไรก็ไม่มี สัตว์น้ำก็ไม่มีที่อยูอาศัย ชาวบ้านก็ไม่กล้าเข้าไปเพราะเป็นที่ของนายทุน” คำบอกเล่าของโยธิน อ่ำมา หรือ บัวลอย ชาวประมงที่เติบโตในอ่าวทุ่งคาสะท้อนถึงอดีตที่ไม่สวยงาม ไม่มีแม้แต่ภาพฝันของผืนป่าที่จะเติบโตขึ้นได้ในอ่าวทุ่งคาแห่งนี้           จนกระทั่งเมื่อปี 2542 อ่าวทุ่งคาได้ประกาศเป็นเขตอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพรจึงเริ่มเกิดการฟื้นฟูป่าชายเลนอย่างจริงจัง นายมรกต โจวรรณถะ ผู้ช่วยหัวหน้าอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพร พาพวกเราเข้าไปสำรวจเส้นทางศึกษาธรรมชาติป่าชายเลนที่อยู่ติดกับที่ทำการอุทยานซึ่งครั้งหนึ่งเคยเป็นบ่อกุ้ง แต่ปัจจุบันเจ้าหน้าที่ ชาวบ้าน และหน่วยงานต่าง ๆ ร่วมกันฟื้นฟูจนกลายเป็นป่าชายเลนอีกครั้ง           ผืนป่าฝีมือมนุษย์ที่เราเห็นกลายเป็นผืนป่าชายเลนขนาดใหญ่ที่อุดมไปด้วยธาตุอาหารจากการทับถมของตะกอนที่พัดพามาจากคลองสายต่าง ๆ ปกคลุมไปด้วยร่มเงาของต้นโกงกางใบเล็ก โกงกางใบใหญ่ที่เรียงตัวกันแน่นทึบจนกลายเป็นแหล่งพักพิงของทั้งปูแสม ปลาตีน สัตว์น้ำวัยอ่อน ลิงแสม รวมถึงนกนานาชนิด ปลูกป่าในใจคน           นอกจากผืนป่าโดยรอบที่ทำการอุทยานแห่งชาติหมู่เกาะชุมพรแล้ว ยังมีพื้นป่าอีกกว่า 2,700 […]

Rapheephat Toumsaeng

21 June 2022

ตามรอยปลูกป่าเมืองน่าน ปลูกคนหัวใจสีเขียว

ตามรอยปลูกป่าเมืองน่าน ปลูกคนหัวใจสีเขียว จังหวัดน่าน หรือเมืองน่าน เป็นเมืองเล็ก ๆ แต่แฝงไว้ด้วยมนต์เสน่ห์ที่จัดเต็มด้วยธรรมชาติ มีขุนเขาสลับซับซ้อน ที่แต่งแต้มสีเขียวด้วยผืนป่าไม้ที่อุดมสมบูรณ์ ทำให้น่านเป็นจังหวัดที่มีพื้นที่ป่าไม้มากเป็นอันดับ 7 ของประเทศไทย เมื่อเทียบกับพื้นที่จังหวัด (คิดเป็น 61.22 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่จังหวัดน่านทั้งหมด : ข้อมูล ณ ต้นปี 2564 สำนักจัดการที่ดินป่าไม้ กรมป่าไม้) ปัจจุบันเราจะเห็นว่าจังหวัดน่านมีธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ ป่าไม้สวยงามน่าท่องเที่ยว แต่รู้หรือไม่ว่าก่อนหน้านี้พื้นที่ป่าไม้และ ป่าต้นน้ำในจังหวัดน่าน ถูกทำลายไปกว่า 1,680,000 ไร่ และบางส่วนที่เหลืออยู่ก็เป็นป่าต้นน้ำที่ไม่สมบูรณ์เพียงพอที่จะสามารถป้องกันภัยแล้ง อุทกภัย และดินโคลนถล่มได้ หรือหากนึกภาพไม่ออก ทุกคนคงจะเคยได้ยินคำว่า “เขาหัวโล้น” นั่นแหละ คือสภาพผืนป่าน่านในอดีตกว่า 20 ปี มาแล้ว เรื่องราวของการ “ปลูกป่า” จึงเกิดขึ้นที่นี่ เพื่อหวังแก้ไขฟื้นฟูพื้นที่ป่าที่ถูกทำลายให้กลับมาสมบูรณ์ กฟผ. นับเป็นหน่วยงานหนึ่งที่เล็งเห็นถึงความสำคัญของป่าและน้ำ รวมถึงการเพิ่มพื้นที่สีเขียวด้วยทรัพยากรป่าไม้ จึงได้เริ่มต้นจากจุดเล็ก ๆ นั่นคือความตั้งใจ ในการดูแลรักษาสิ่งแวดล้อมในพื้นที่โดยรอบหน่วยงาน กฟผ. ที่ตั้งอยู่ในภูมิภาคต่าง ๆ […]

EGAT

2 February 2022

กฟผ. ชูแผน Triple S สร้างสังคมปลอดคาร์บอนให้คนไทย พร้อมชวนปลูกป่าล้านไร่ไปด้วยกัน

กฟผ. ชูแผน Triple S สร้างสังคมปลอดคาร์บอนให้คนไทย พร้อมชวนปลูกป่าล้านไร่ไปด้วยกัน           การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศที่ทวีความรุนแรง ทำให้ทั่วโลกต้องเผชิญกับผลกระทบและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ทำให้เป้าหมายของการลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ (Carbon Neutrality) เข้มข้นมากขึ้นกว่าเดิม โดยประเทศไทยตั้งเป้าลดคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2065 สร้างความตื่นตัวและความตระหนักให้แก่ทุกภาคส่วนร่วมลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์อย่างเป็นรูปธรรม           การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย หรือ กฟผ. เป็นอีกหนึ่งหน่วยงานที่ออกมาประกาศเป้าหมายมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอน (EGAT Carbon Neutrality) ลดการปลดปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์สุทธิเป็นศูนย์ภายในปี ค.ศ.2050 เพื่อป้องกันและแก้ไขปัญหาเรื่องนี้อย่างจริงจัง ภายใต้หลักการสร้างสมดุลระหว่างต้นทุนในการผลิตไฟฟ้า ผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม และความมั่นคงระบบไฟฟ้าของประเทศ ภายใต้กลยุทธ์ “Triple S” ประกอบด้วย           Sources Transformation : การจัดการตั้งแต่ต้นกำเนิด ด้วยการเพิ่มสัดส่วนการผลิตพลังงานไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียนโดยเฉพาะโครงการโรงไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ทุ่นลอยน้ำร่วมกับเขื่อนพลังน้ำและระบบกักเก็บพลังงานด้วยแบตเตอรี่ การพัฒนาโครงข่ายไฟฟ้าให้มีความทันสมัย (Grid modernization) และการนำเทคโนโลยีทันสมัยและพลังงานทางเลือกมาใช้ในการผลิตพลังงานไฟฟ้าในอนาคต           Sink Co-Creation : การเพิ่มปริมาณการดูดซับกักเก็บคาร์บอน อาทิ โครงการปลูกป่าล้านไร่อย่างมีส่วนร่วม การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีการดักจับ การใช้ประโยชน์ และกักเก็บคาร์บอน (Carbon Capture Utilization and Storage […]

Rapheephat Toumsaeng

24 November 2021
Skip to content